วารสารร่มพฤกษ์
ศูนย์วิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเกริก

การส่งบทความ​

ในขั้นตอนการส่งบทความ ผู้แต่งต้องตรวจสอบและปฏิบัติตามข้อกำหนดรายการตรวจสอบการส่งทุกข้อดังนี้
– ผู้เขียนต้องชำระค่าธรรมเนียมตีพิมพ์บทความ
– บทความที่ส่งาต้องเขียนให้อยู่ในรูปแบบที่วารสารร่มพฤกษ์กำหนดเท่านั้น
– ผู้เขียนต้องส่งเอกสาร
1) แบบฟอร์มการส่งบทความ
2) ใบโอนเงิน และ
3) บทความ มาที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/romphruekj/index (ระบบออนไลน์) เท่านั้น โดยจะไม่รับพิจารณาบทความที่ส่งทางอีเมล์ ไปรษณีย์หรือช่องทางอื่นๆ
– ระยะเวลาที่ใช้ในกระบวนการตั้งแต่รับบทความจนผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความเสร็จ โดยประมาณ 75 วัน
– ผู้เขียนจะได้รับหนังสือตอบรับการตีพิมพ์เมื่อกองบรรณาธิการได้รับบทความที่ผู้เขียนแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิหลังจากการประเมินแล้วเท่านั้น
– ขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาเฉพาะบทความที่ส่งมาตามเงื่อนไขนี้เท่านั้น
– วารสารร่มพฤกษ์ขอสงวนสิทธิ์ในการรับพิจารณาบทความ กรณี

การใช้อีเมลและหมายเลขโทรศัพท์ของผู้อื่นในการส่งบทความ
ไม่รับพิจารณาบทความวิจัยในชั้นเรียนและบทความจากงานวิจัยสถาบัน
รับพิจารณาบทความที่เขียนตามรูปแบบของวารสารร่มพฤกษ์เท่านั้น
รับพิจารณาบทความผ่านระบบ ThaiJO [https://www.tci-thaijo.org/index.php/romphruekj/index] เท่านั้น

คำแนะนำผู้แต่ง/ผู้เขียนบทความ

หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์วารสารร่มพฤกษ์
ขั้นตอนการส่ง : รูปแบบการเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารร่มพฤกษ์
เป็นบทความทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยเสนอขอตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารฉบับอื่นๆ มาก่อน
ผู้เขียนจะต้องส่งต้นฉบับเป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ โดย
– พิมพ์ลงในโปรแกรม Microsoft word ความยาวไม่เกิน 15 หน้า (A4)
– อักษร Cordia New /ขนาดอักษร 16 point (ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ)
– กำหนดระยะขอบกระดาษทั้ง 4 ด้าน คือ 2.54 เซนติเมตร หรือ 1 นิ้ว (ขอบบน ซ้าย ขวา และล่าง)
รูปแบบการเขียนบทความ ควรเขียนเชิงพรรณาความ หากเป็นบทความที่มาจากงานวิจัยต้องเป็นการเขียนใหม่ โดยนำประเด็นสำคัญมานำเสนอ และใช้รูปแบบการเขียนที่ไม่ใช่เป็นการย่อจากงานวิจัย
บทความวิจัย ควรประกอบด้วยหัวข้อดังนี้ (ไม่ต้องใส่ตัวเลขหน้าหัวข้อในบทความ)
1. ชื่อบทความ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
2. ชื่อผู้เขียน ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
3. บทคัดย่อ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (รวม 2 ภาษา ควรมีความยาวไม่เกิน 1 หน้า A4)
4. คำสำคัญ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (3-5 คำ ใช้ เครื่องหมาย semicolon (;) คั่น ระหว่างคำ)
5. บทนำ (ที่มาและความสำคัญของปัญหา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมมติฐาน วัตถุประสงค์ แนวคิดทฤษฎี)
6. วิธีการวิจัย (ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง วิธีการเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล)
7. ผลการวิจัย (ผลที่ได้จากการวิจัย อาจแสดงภาพหรือตารางที่สำคัญประกอบการอธิบายผลวิจัย)
8. บทสรุป (สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ)
9. เอกสารอ้างอิง (วารสารร่มพฤกษ์ใช้รูปแบบ APA 6th)
บทความวิชาการ ควรประกอบด้วยหัวข้อดังนี้ (ไม่ต้องใส่ตัวเลขหน้าหัวข้อในบทความ)
1. ชื่อบทความ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
2. ชื่อผู้เขียน ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
3. บทคัดย่อ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ทั้ง 2 ภาษา ควรมีความยาวไม่เกิน 1 หน้า A4)
4. คำสำคัญ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (3-5 คำ ใช้ เครื่องหมาย semicolon (;) คั่น ระหว่างคำ)
5. บทนำ (ที่มา หรือ ความสำคัญของบทความที่ต้องการนำเสนอ)
6. เนื้อหา (ผู้เขียนนำเสนอหัวข้อสำคัญที่เกี่ยวข้องประกอบบทความที่นำเสนอ)
7. บทสรุป (สรุปประเด็นสำคัญที่ได้นำเสนอจากบทความ โดยสรุปท้ายบทความอาจตั้งประเด็นคำถาม หรือ การสร้างความต้องการให้ผู้อ่านคิดค้นหาคำตอบใหม่ๆ)
8. เอกสารอ้างอิง (วารสารร่มพฤกษ์ใช้รูปแบบ APA 6th)

บทความวิจัย ควรประกอบด้วยหัวข้อดังนี้ (ไม่ต้องใส่ตัวเลขหน้าหัวข้อในบทความ)
1. ชื่อบทความ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
2. ชื่อผู้เขียน ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
3. บทคัดย่อ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (รวม 2 ภาษา ควรมีความยาวไม่เกิน 1 หน้า A4)
4. คำสำคัญ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (3-5 คำ ใช้ เครื่องหมาย semicolon (;) คั่น ระหว่างคำ)
5. บทนำ (ที่มาและความสำคัญของปัญหา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมมติฐาน วัตถุประสงค์ แนวคิดทฤษฎี)
6. วิธีการวิจัย (ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง วิธีการเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล)
7. ผลการวิจัย (ผลที่ได้จากการวิจัย อาจแสดงภาพหรือตารางที่สำคัญประกอบการอธิบายผลวิจัย)
8. บทสรุป (สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ)
9. เอกสารอ้างอิง (วารสารร่มพฤกษ์ใช้รูปแบบ APA 6th)

บทความวิจัย ควรประกอบด้วยหัวข้อดังนี้ (ไม่ต้องใส่ตัวเลขหน้าหัวข้อในบทความ)
1. ชื่อบทความ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
2. ชื่อผู้เขียน ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
3. บทคัดย่อ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (รวม 2 ภาษา ควรมีความยาวไม่เกิน 1 หน้า A4)
4. คำสำคัญ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (3-5 คำ ใช้ เครื่องหมาย semicolon (;) คั่น ระหว่างคำ)
5. บทนำ (ที่มาและความสำคัญของปัญหา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมมติฐาน วัตถุประสงค์ แนวคิดทฤษฎี)
6. วิธีการวิจัย (ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง วิธีการเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล)
7. ผลการวิจัย (ผลที่ได้จากการวิจัย อาจแสดงภาพหรือตารางที่สำคัญประกอบการอธิบายผลวิจัย)
8. บทสรุป (สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ)
9. เอกสารอ้างอิง (วารสารร่มพฤกษ์ใช้รูปแบบ APA 6th)

 

สำหรับบทความปริทัศน์-บทวิจารณ์หนังสือผู้เขียนจะต้องแจ้งแหล่งที่มาโดยละเอียด
การเขียนเชิงอรรถ
เป็นการเขียนข้อความที่บอกแหล่งที่มาของอัญประภาษหรืออัญพจน์ อาจเป็นรายละเอียดเพิ่มเติมข้อความบางแห่งในรายงาน ตำแหน่งของเชิงอรรถให้เขียนไว้ ท้ายหน้ากระดาษแต่ละหน้าโดยเว้นห่างจากข้อความในส่วนเนื้อเรื่องพอสมควร และมีเส้นขีดคั่นเพื่อมิให้ปะปนกับเนื้อเรื่อง
การเขียนเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง เป็นการรวบรวมเฉพาะรายการเอกสารที่ถูกอ้างไว้ในส่วนเนื้อเรื่องเท่านั้น ดังนั้นจำนวนรายการเอกสารที่อ้างอิงในส่วนท้ายเรื่องจึงต้องมีจำนวนเท่ากันกับที่ถูกอ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่อง……. การอ้างอิงแบบนาม-ปี เป็นการอ้างอิงโดยระบุ ชื่อผู้แต่ง และ ปีที่พิมพ์ของเอกสาร ไว้ข้างหน้าหรือข้างหลังข้อความที่ต้องการอ้าง เพื่อบอกแหล่งที่มาของข้อความในเนื้อหานั้น และอาจระบุ เลขหน้าของเอกสารที่อ้าง ได้ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถตรวจสอบข้อมูลทางบรรณานุกรมของเอกสารที่ใช้อ้างอิงได้จากรายการ เอกสารอ้างอิง (references) หรือ บรรณานุกรม (bibliography)

บทความวิชาการ ควรประกอบด้วยหัวข้อดังนี้ (ไม่ต้องใส่ตัวเลขหน้าหัวข้อในบทความ)
1. ชื่อบทความ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
2. ชื่อผู้เขียน ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
3. บทคัดย่อ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ทั้ง 2 ภาษา ควรมีความยาวไม่เกิน 1 หน้า A4)
4. คำสำคัญ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (3-5 คำ ใช้ เครื่องหมาย semicolon (;) คั่น ระหว่างคำ)
5. บทนำ (ที่มา หรือ ความสำคัญของบทความที่ต้องการนำเสนอ)
6. เนื้อหา (ผู้เขียนนำเสนอหัวข้อสำคัญที่เกี่ยวข้องประกอบบทความที่นำเสนอ)
7. บทสรุป (สรุปประเด็นสำคัญที่ได้นำเสนอจากบทความ โดยสรุปท้ายบทความอาจตั้งประเด็นคำถาม หรือ การสร้างความต้องการให้ผู้อ่านคิดค้นหาคำตอบใหม่ๆ)
8. เอกสารอ้างอิง (วารสารร่มพฤกษ์ใช้รูปแบบ APA 6th)

รูปแบบการเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารร่มพฤกษ์

ข้อมูลการเตรียมต้นฉบับบทความสำหรับผู้เขียนบทความ

1. เป็นบทความทางด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

2. บทความที่ส่งเพื่อขอตีพิมพ์ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยเสนอขอตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารฉบับอื่นๆ มาก่อน

3. ผู้เขียนจะต้องส่งต้นฉบับเป็นไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Microsoft Word) โดย

– พิมพ์ลงในกระดาษ A4 ความยาวไม่เกิน 15 (หน้า A4)
– อักษร Cordia New /ขนาดอักษร 16 point (ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ)
– ตั้งค่าหน้ากระดาษโดยให้เว้นที่ว่างขอบกระดาษไว้ทั้ง 4 ด้าน 2.5 เซนติเมตร หรือ 1 นิ้ว (ขอบด้านบน ขอบด้านซ้าย ขอบด้านขวา ขอบด้านล่าง)
– ส่งไฟล์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Microsoft Word) ล่วงหน้า 2 เดือน ก่อนกำหนดออกวารสาร

4. รูปแบบการเขียนบทความ ควรเขียนเชิงพรรณาความ หากเป็นบทความที่มาจากงานวิจัยต้องเป็นการเขียนใหม่ โดยนำประเด็นสำคัญมานำเสนอ และใช้รูปแบบการเขียนที่ไม่ใช่เป็นการย่อจากงานวิจัย